Petzl I-D S Manual De Instrucciones página 24

Tabla de contenido

Publicidad

Idiomas disponibles
  • ES

Idiomas disponibles

  • ESPAÑOL, página 9
TH
คู ่ ม ื อ การใช้ ง านนี ้ อธิ บ ายให้ ท ราบถึ ง วิ ธ ี ก ารใช้ อ ุ ป กรณ์ อ ย่ า งถู ก ต้ อ ง ได้ ร ะบุ ข ้ อ มู ล ทาง
เทคนิ ค และการใช้ ง าน
เครื ่ อ งหมายคำ า เตื อ นได้ บ อกให้ ค ุ ณ ทราบถึ ง อั น ตรายบางส่ ว นที ่ อ าจเกิ ด ขึ ้ น จากการใช้
งานของอุ ป กรณ์ แต่ ไ ม่ อ าจบอกได้ ท ั ้ ง หมด ตรวจเช็ ค ที ่ Petzl.com เพื ่ อ หาข้ อ มู ล เพิ ่ ม
เติ ม ล่ า สุ ด
เป็ น ความรั บ ผิ ด ชอบของคุ ณ ในการระมั ด ระวั ง ต่ อ คำ า เตื อ นและการใช้ อ ุ ป กรณ์ อ ย่ า ง
ถู ก ต้ อ ง ข้ อ ผิ ด พลาดในการใช้ อ ุ ป กรณ์ จ ะทำ า ให้ เ กิ ด อั น ตราย ติ ด ต่ อ Petzl หรื อ ตั ว แทน
จำ า หน่ า ยถ้ า มี ข ้ อ สงสั ย หรื อ ไม่ เ ข้ า ใจข้ อ ความในคู ่ ม ื อ นี ้
1. ส่ ว นที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั น
อุ ป กรณ์ ใ ช้ ง านแบบเอนกประสงค์
ไม่ ใ ช่ อ ุ ป กรณ์ ท ี ่ ส ามารถใช้ ง านเดี ่ ย วๆ ได้
ตั ว ไต่ ล งอั ต โนมั ต ิ / อุ ป กรณ์ ค วบคุ ม เชื อ ก
อุ ป กรณ์ น ี ้ เ ป็ น อุ ป กรณ์ ป ้ อ งกั น ภั ย ส่ ว นบุ ค คล (PPE)
รั บ น้ ำ า หนั ก 150 กก
การไต่ ล งด้ ว ยระบบเชื อ ก
มาตรฐาน EN 12841 type C การปรั บ เข้ า กั บ เชื อ ก
การเคลื ่ อ นย้ า ยบุ ค คล ตั ้ ง แต่ ห นึ ่ ง คนหรื อ มากกว่ า
มาตรฐาน EN 341:1997 type A การกู ้ ภ ั ย ลงจากที ่ ส ู ง
การควบคุ ม เชื อ ก
อุ ป กรณ์ น ี ้ จ ะต้ อ งไม่ ใ ช้ ร ั บ น้ ำ า หนั ก เกิ น กว่ า ที ่ ร ะบุ ไ ว้ ห รื อ ไม่ น ำ า ไปใช้ ใ นวั ต ถุ ป ระสงค์ อ ย่ า ง
อื ่ น นอกเหนื อ จากที ่ ไ ด้ ถ ู ก ออกแบบมา
ความรั บ ผิ ด ชอบ
คำ า เตื อ น
กิ จ กรรมที ่ เ กี ่ ย วข้ อ งกั บ การใช้ อ ุ ป กรณ์ น ี ้ เป็ น สิ ่ ง ที ่ เ ป็ น อั น ตราย
ผู ้ ใ ช้ ต ้ อ งมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ การกระทำ า การตั ด สิ น ใจและความปลอดภั ย
ก่ อ นการใช้ อ ุ ป กรณ์ น ี ้ จะต้ อ ง
- อ่ า นและทำ า ความเข้ า ใจคู ่ ม ื อ การใช้ ง าน
- การฝึ ก ฝนโดยเฉพาะเพื ่ อ การใช้ ง านที ่ ถ ู ก ต้ อ ง
- ทำ า ความคุ ้ น เคยกั บ ความสามารถและข้ อ จำ า กั ด ในการใช้ ง านของมั น
- เข้ า ใจและยอมรั บ ความเสี ่ ย งที ่ เ กี ่ ย วข้ อ ง
การขาดความระมั ด ระวั ง และละเลยต่ อ ข้ อ มู ล นี ้ อาจมี ผ ลให้ เ กิ ด การบาดเจ็ บ สาหั ส หรื อ อาจ
ถึ ง แก่ ช ี ว ิ ต
อุ ป กรณ์ น ี ้ จ ะต้ อ งถู ก ใช้ ง านโดยผู ้ ท ี ่ ม ี ค วามสามารถเพี ย งพอและมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบหรื อ ใช้
ในสถานที ่ ท ี ่ อ ยู ่ ใ นความรั บ ผิ ด ชอบโดยตรงหรื อ ควบคุ ม ได้ โ ดยผู ้ เ ชี ่ ย วชาญ
เป็ น ความรั บ ผิ ด ชอบของผู ้ ใ ช้ ง านต่ อ วิ ธ ี ก ารใช้ การตั ด สิ น ใจความปลอดภั ย และยอมรั บ
ในผลที ่ เ กิ ด ขึ ้ น จากวิ ธ ี ก ารนั ้ น ไม่ ค วรใช้ อ ุ ป กรณ์ น ี ้ ถ ้ า คุ ณ ไม่ ส ามารถ หรื อ ไม่ อ ยู ่ ใ นสภาวะ
ที ่ จ ะรั บ ผิ ด ชอบต่ อ ความเสี ่ ย งที ่ จ ะเกิ ด ขึ ้ น หรื อ ไม่ เ ข้ า ใจข้ อ ความในคู ่ ม ื อ การใช้ ง าน
2. ชื ่ อ ของส่ ว นประกอบ
(1) แผ่ น เพลทสำ า หรั บ เลื ่ อ นปิ ด (2) เพลทกั น การเสี ย ดสี (3) บานพั บ (4) ลู ก ล้ อ (5) ตั ว
จั บ กั น เชื อ กไหลลื ่ น (6) แผ่ น ยึ ด ติ ด ด้ า นข้ า ง (7) มื อ จั บ (8) ปุ ่ ม สำ า หรั บ เลื ่ อ นไหลในแนว
นอน (9) ประตู เ ปิ ด คล้ อ ง (10) สกรู ส ำ า หรั บ ล็ อ คแผ่ น เพลทด้ า นข้ า ง และประตู เ ปิ ด คล้ อ ง
สำ า หรั บ ชุ ด อุ ป กรณ์ ก ู ้ ภ ั ย
ตำ า แหน่ ง ของมื อ จั บ (a) ขณะขนส่ ง (b) จั ด วางตำ า แหน่ ง ทำ า งาน (c) ตำ า แหน่ ง การโรยตั ว
ลง (d) ตำ า แหน่ ง หยุ ด กระทั น หั น (e) ตำ า แหน่ ง ควบคุ ม เชื อ ก
คำ า ศั พ ท์ เ ทคนิ ค เฉพาะ การเบรคด้ ว ยมื อ เบรคโดยการดึ ง เชื อ กทางด้ า นข้ า ง
วั ส ดุ ป ระกอบหลั ก อลู ม ิ น ั ่ ม อั ล ลอยด์ (แผ่ น เพลทด้ า นข้ า ง) สแตนเลส (ลู ก ล้ อ ตั ว จั บ กั น
เชื อ กไหลลื ่ น ) ไนลอน (มื อ จั บ )
3. การตรวจสอบ จุ ด ตรวจสอบ
ความปลอดภั ย ของคุ ณ ขึ ้ น อยู ่ ก ั บ ความสมบู ร ณ์ ข องอุ ป กรณ์ ข องคุ ณ
Petzl แนะนำ า ให้ ต รวจเช็ ค รายละเอี ย ดของอุ ป กรณ์ โ ดยผู ้ เ ชี ่ ย วชาญ อย่ า งน้ อ ยทุ ก 12 เดื อ น
(ขึ ้ น อยู ่ ก ั บ ข้ อ กำ า หนดกฎหมายของประเทศและสภาพการใช้ ง าน) ทำ า ตามขั ้ น ตอนที ่
แสดงไว้ ท ี ่ Petzl.com บั น ทึ ก ผลการตรวจเช็ ค PPE ลงในแบบฟอร์ ม การตรวจเช็ ค ชนิ ด
รุ ่ น ข้ อ มู ล ของโรงงานผู ้ ผ ลิ ต หมายเลขลำ า ดั บ การผลิ ต หรื อ หมายเลขกำ า กั บ อุ ป กรณ์ วั น
ที ่ ข องการผลิ ต วั น ที ่ ส ั ่ ง ซื ้ อ วั น ที ่ ใ ช้ ง านครั ้ ง แรก กำ า หนดการตรวจเช็ ค ครั ้ ง ต่ อ ไป ปั ญ หาที ่
พบ ความคิ ด เห็ น ชื ่ อ ของผู ้ ต รวจเช็ ค พร้ อ มลายเซ็ น ต์
ก่ อ นการใช้ ง านแต่ ล ะครั ้ ง
ตรวจเช็ ค ว่ า ไม่ ม ี ร อยแตกร้ า ว เสี ย รู ป ทรง การกั ด กร่ อ นของสนิ ม
- เช็ ค ลู ก ล้ อ เพื ่ อ หาร่ อ งรอยสึ ก หรอ เพราะถ้ า ลู ก ล้ อ ถู ก ใช้ ง านจนเก่ า สึ ก หรอจนเห็ น ร่ อ ง
รอย ไม่ ค วรใช้ ต ั ว I'D อี ก (ดู ภ าพประกอบ)
- ตรวจเช็ ค แผ่ น เพลทปิ ด ด้ า นข้ า งว่ า ไม่ เ สี ย รู ป ทรงจนมากเกิ น ไป ถ้ า แผ่ น เพลทโก่ ง งอจน
ล้ ำ า ออกมาจากแกนยึ ด ลู ก ล้ อ ไม่ ค วรใช้ ต ั ว I'D อี ก (ดู ภ าพประกอบ)
- ตรวจเช็ ค ส่ ว นประกอบการติ ด ยึ ด (ตั ว จั บ เพื ่ อ ความปลอดภั ย สกรู ล ็ อ ค แกน) และการ
สปริ ง ตั ว ของลู ก ล้ อ ตั ว จั บ กั น เชื อ กไหลและลู ก ล้ อ ตรวจเช็ ค ว่ า ลู ก ล้ อ เคลื ่ อ นไหวได้ ด ี
- ตรวจเช็ ค การทำ า งานของปุ ่ ม กดเพื ่ อ การเคลื ่ อ นที ่ ใ นแนวนอน ว่ า มั น ดี ด ตั ว กลั บ หลั ง การ
กดปุ ่ ม (ที ่ ต ำ า แหน่ ง c)
ระหว่ า งการใช้ ง าน
เป็ น เรื ่ อ งสำ า คั ญ อย่ า งยิ ่ ง ที ่ ต ้ อ งตรวจสอบสภาพของอุ ป กรณ์ อ ยู ่ เ ป็ น ประจำ า และการต่ อ
เชื ่ อ มอุ ป กรณ์ เ ข้ า กั บ อุ ป กรณ์ ต ั ว อื ่ น ในระบบ แน่ ใ จว่ า ทุ ก ชิ ้ น ส่ ว นของอุ ป กรณ์ อ ยู ่ ใ น
ตำ า แหน่ ง ที ่ ถ ู ก ต้ อ งกั บ ชิ ้ น ส่ ว นอื ่ น
คำ า เตื อ น อั น ตรายถึ ง แก่ ช ี ว ิ ต อย่ า ให้ ม ี ส ิ ่ ง กี ด ขวางหรื อ ติ ด ขั ด ในการทำ า งานของอุ ป กรณ์
หรื อ ส่ ว นประกอบ (ลู ก ล้ อ ตั ว จั บ กั น เชื อ กไหลเลื ่ อ น) ระวั ง สิ ่ ง แปลกปลอมติ ด ยึ ด ใน I'D
การหยุ ด ยั ้ ง อุ ป กรณ์ ด ้ ว ยไม่ แ น่ ใ จจะมี ผ ลต่ อ ระบบการเบรค
เชื อ กที ่ อ ยู ่ ร ะหว่ า งตั ว ปรั บ เชื อ ก กั บ จุ ด ผู ก ยึ ด ต้ อ งตึ ง อยู ่ เ สมอเพื ่ อ ลดความเสี ่ ย งจากการ
ตก
4. ความเข้ า กั น ได้
ตรวจเช็ ค ว่ า อุ ป กรณ์ น ี ้ สามารถใช้ ง านเข้ า กั น ได้ ด ี ก ั บ อุ ป กรณ์ อ ื ่ น ในระบบ (เข้ า กั น ได้ ด ี =
ใช้ ง านด้ ว ยกั น ได้ โ ดยไม่ ต ิ ด ขั ด )
อุ ป กรณ์ ท ี ่ น ำ า มาใช้ ง านร่ ว มกั บ I'D S จะต้ อ งสอดคล้ อ งกั บ ข้ อ กำ า หนดมาตรฐานที ่ ใ ช้
บั ง คั บ ในแต่ ล ะประเทศ (เช่ น EN 362 เป็ น มาตรฐานเกี ่ ย วกั บ ตั ว คาราไบเนอร์ )
เชื อ ก
ใช้ เ ฉพาะเชื อ กที ่ ม ี ข นาด และผลิ ต จากวั ส ดุ ท ี ่ ต รงตามคำ า แนะนำ า เท่ า นั ้ น การใช้ เ ชื อ กที ่
ขนาด/ชนิ ด ที ่ แ ตกต่ า ง จะทำ า ให้ ป ระสิ ท ธิ ภ าพของอุ ป กรณ์ เ ปลี ่ ย นแปลง โดยเฉพาะอย่ า ง
ยิ ่ ง การเกิ ด ผลกระทบต่ อ การเบรค
คำ า เตื อ น เชื อ กบางชนิ ด อาจมี ก ารเลื ่ อ นไหลได้ โดยเฉพาะเชื อ กใหม่ เชื อ กที ่ ม ี ข นาดเล็ ก
เชื อ กที ่ เ ปี ย กชื ้ น หรื อ มี น ้ ำ า แข็ ง เกาะ
5. หลั ก การปฏิ บ ั ต ิ ง าน
TECHNICAL NOTICE I'D S
เมื ่ อ เชื อ กตึ ง (ด้ ว ยการหยุ ด ชะงั ก หรื อ จากการตก) I'D จะหมุ น รอบ คาราไบเนอร์ (1)
และลู ก ล้ อ จะทำ า การบี บ เบรคเชื อ ก (2) โดยการกำ า เชื อ กด้ า นเบรค มื อ ที ่ ก ำ า เชื อ กจะมี ส ่ ว น
ช่ ว ยในการบี บ อั ด ของลู ก ล้ อ
6. การติ ด ตั ้ ง เชื อ ก
ต่ อ ตั ว I'D S เข้ า กั บ ตั ว คาราไบเนอร์ แ บบประตู ล ็ อ ค
เปิ ด แผ่ น เลื ่ อ นปิ ด ด้ า นข้ า ง วางตำ า แหน่ ง ของมื อ จั บ (c) เปิ ด แผ่ น ปิ ด ลู ก ล้ อ ใส่ เ ชื อ กตาม
แนวที ่ ส ลั ก บอกไว้ บ นตั ว อุ ป กรณ์ ปิ ด แผ่ น เลื ่ อ นปิ ด ด้ า นข้ า ง (safety gate) บนตั ว คารา
ไบเนอร์
คำ า เตื อ น แผ่ น เพลทเลื ่ อ นปิ ด ด้ า นข้ า งจะต้ อ งอยู ่ ใ นตำ า แหน่ ง ที ่ เ หมาะสมบนแกนยึ ด ลู ก ล้ อ
และบนตั ว คาราไบเนอร์
6A. การติ ด ตั ้ ง อุ ป กรณ์ บ นสายรั ด นิ ร ภั ย
6B. การติ ด ตั ้ ง อุ ป กรณ์ บ นจุ ด ผู ก ยึ ด
จะต้ อ งเพิ ่ ม ความฝื ด จากการเสี ย ดสี โ ดยการเปลี ่ ย นทิ ศ ทางการเบรคด้ า นข้ า งของเชื อ ก
ร่ ว มกั บ ตั ว คาราไบเนอร์
คำ า เตื อ น การเกาะจั บ ที ่ ผ ิ ด พลาดสามารถทำ า ให้ เ ชื อ กที ่ ใ ส่ เ ข้ า ไปย้ อ นกลั บ แต่ ไ ม่ ท ำ า ให้ เ กิ ด
การผิ ด พลาดทั ้ ง หมด
7. การทดลองปฏิ บ ั ต ิ
ก่ อ นการใช้ ง านทุ ก ครั ้ ง ให้ ต รวจเช็ ค ว่ า เชื อ กได้ ใ ส่ ถ ู ก ทิ ศ ทางและอุ ป กรณ์ ส ามารถใช้ ง าน
ได้ ด ี จะต้ อ งใช้ ร ะบบเสริ ม ความปลอดภั ย รองรั บ ทุ ก ครั ้ ง ที ่ ท ำ า การตรวจเช็ ค อุ ป กรณ์ น ี ้
7A. การติ ด ตั ้ ง อุ ป กรณ์ บ นสายรั ด นิ ร ภั ย
ดึ ง เชื อ กลงจากด้ า นจุ ด ผู ก ยึ ด เชื อ กจะติ ด อยู ่ ใ นตั ว อุ ป กรณ์ ถ้ า ไม่ เ ป็ น ตามนั ้ น ให้ เ ช็ ค ดู ว ่ า
ใส่ เ ชื อ กถู ก วิ ธ ี ห รื อ ไม่
ค่ อ ย ๆ ทิ ้ ง น้ ำ า หนั ก ตั ว ลงบนอุ ป กรณ์ (เชื อ กต้ อ งตึ ง มื อ จั บ อยู ่ ท ี ่ ต ำ า แหน่ ง c) ใช้ ม ื อ ข้ า ง
หนึ ่ ง เบรคด้ ว ยการดึ ง เชื อ กทางด้ า นข้ า ง ค่ อ ย ๆ ดึ ง มื อ จั บ ด้ ว ยมื อ อี ก ข้ า งหนึ ่ ง เพื ่ อ ปล่ อ ย
ให้ เ ชื อ กไหล
- การโรยตั ว ลงได้ = เชื อ กถู ก ใส่ ถ ู ก วิ ธ ี
- โรยตั ว ลงไม่ ไ ด้ = ตรวจเช็ ค การใส่ เ ชื อ ก (เชื อ กติ ด ขั ด ด้ ว ยการไส่ ท ี ่ ไ ม่ ถ ู ก วิ ธ ี )
เมื ่ อ ทำ า การปล่ อ ยมื อ จั บ ตั ว I'D จะเบรค และล็ อ คเชื อ ก
คำ า เตื อ น ถ้ า ตั ว อุ ป กรณ์ ย ั ง ไม่ ส ามารถใช้ ง านได้ อ ี ก (เชื อ กลื ่ น ไหล) ให้ เ ลิ ก ใช้
7B. การติ ด ตั ้ ง อุ ป กรณ์ บ นจุ ด ผู ก ยึ ด
เมื ่ อ ดึ ง น้ ำ า หนั ก เชื อ กลงทางด้ า นข้ า ง เชื อ กจะต้ อ งติ ด ขั ด อยู ่ ใ นตั ว อุ ป กรณ์ ถ้ า ไม่ เ ป็ น ตาม
นั ้ น ให้ เ ช็ ค ดู ว ่ า ใส่ เ ชื อ กถู ก วิ ธ ี ห รื อ ไม่
คำ า เตื อ น ถ้ า เชื อ กถู ก ติ ด ตั ้ ง แบบย้ อ นกลั บ โดยปราศจากการเปลี ่ ย นทิ ศ ทางของการเบรค
ด้ ว ยคาราไบเนอร์ การติ ด ขั ด จะไม่ ไ ด้ ผ ล
คำ า เตื อ น ถ้ า ตั ว อุ ป กรณ์ ย ั ง ไม่ ส ามารถใช้ ง านได้ อ ี ก (เชื อ กลื ่ น ไหล) ให้ เ ลิ ก ใช้
8. EN 12841:2006 type C
EN 12841:2006 I'D S ตั ว ไต่ ล ง type C อุ ป กรณ์ บ ี บ ปรั บ เชื อ กใช้ ส ำ า หรั บ ไต่ ล งเชื อ ก
ทำ า งาน I'D S เป็ น อุ ป กรณ์ เ บรคเชื อ ก ที ่ ช ่ ว ยผู ้ ใ ช้ ง านควบคุ ม ความเร็ ว ในการไต่ ล งทำ า งาน
ตามอั ต ราปกติ และสามารถหยุ ด ได้ ท ุ ก ขั ้ น ตอนตามความยาวของเชื อ ก โดยการปล่ อ ย
ที ่ ม ื อ จั บ
ได้ ก ารรั บ รองมาตรฐาน EN 12841:2006 type C ใช้ เ ชื อ กขนาด 10-11.5 มม type A แบบ
เชื อ ก semi-static kernmantel
(หมายเหตุ การทดสอบได้ ก ระทำ า ที ่ น ้ ำ า หนั ก 150 กก ด้ ว ยเชื อ ก BEAL Antipodes และ
เชื อ ก BEAL Ginkgo 10 มม)
8A. การไต่ ล ง
สำ า หรั บ หนึ ่ ง คน
ติ ด ตั ้ ง อุ ป กรณ์ บ นเข็ ม ขั ด นิ ร ภั ย (ที ่ ต ำ า แหน่ ง c) ควบคุ ม การไต่ ล งโดยการเบรคเชื อ กทาง
ด้ า นข้ า งหลายครั ้ ง ปล่ อ ยลง ค่ อ ย ๆ ดึ ง มื อ จั บ กำ า เชื อ กด้ า นที ่ ใ ช้ เ บรคไว้ เ สมอ
ปล่ อ ยมื อ จั บ เพื ่ อ หยุ ด การไต่ ล ง ในสถานการณ์ ฉ ุ ก เฉิ น ถ้ า มื อ จั บ ถู ก ดึ ง มากเกิ น ไป (ที ่
ตำ า แหน่ ง d) อุ ป กรณ์ จ ะเบรค และเชื อ กจะติ ด ขั ด ทำ า การไต่ ล งต่ อ ไป ขั ้ น แรกต้ อ งเลื ่ อ นมื อ
จั บ ไปข้ า งหน้ า (ตำ า แหน่ ง c)
ปุ ่ ม ช่ ว ยการเคลื ่ อ นที ่ ใ นแนวนอน
บนพื ้ น ผิ ว ที ่ เ อี ย งลาด หรื อ ด้ ว ยน้ ำ า หนั ก กดที ่ ค ่ อ นข้ า งเบา อาจทำ า ให้ เ กิ ด การตื ่ น ตกใจได้
ง่ า ย เพื ่ อ ช่ ว ยให้ ก ารไต่ ล งได้ ไ หลลื ่ น ขึ ้ น ให้ ใ ช้ ป ุ ่ ม ช่ ว ยการเคลื ่ อ นที ่ แ นวนอน
- ห้ า มใช้ ป ุ ่ ม เคลื ่ อ นที ่ แ นวนอนขณะทำ า การไต่ ล งแนวดิ ่ ง
8B. ตำ า แหน่ ง การทำ า งาน - การหยุ ด อย่ า งปลอดภั ย
หลั ง การหยุ ด ที ่ ต ำ า แหน่ ง ที ่ ต ้ อ งการ เพื ่ อ การทำ า งานโดยการปล่ อ ยมื อ ทั ้ ง สองข้ า ง ทำ า การ
ล็ อ คตั ว อุ ป กรณ์ บ นเชื อ กด้ ว ยการเลื ่ อ นมื อ จั บ ไปในทิ ศ ทางตรงกั น ข้ า มกั บ ตำ า แหน่ ง ที ่
ใช้ โ รยตั ว ลง (กลั บ ไปที ่ ต ำ า แหน่ ง b) สำ า หรั บ ตำ า แหน่ ง ของการทำ า งาน ตั ว I'D ต้ อ งอยู ่ ใ น
ตำ า แหน่ ง นี ้ เ สมอ
เมื ่ อ มื อ จั บ หยุ ด อยู ่ ท ี ่ ต ำ า แหน่ ง b (ตำ า แหน่ ง ที ่ ห ยุ ด ) อย่ า ฝื น แรงต้ า นมื อ จั บ มื อ จั บ จะต้ อ งไม่
อยู ่ ท ี ่ ต ำ า แหน่ ง a (ตำ า แหน่ ง การขนย้ า ย) ในขณะที ่ เ ชื อ กอยู ่ ใ นตั ว อุ ป กรณ์ ซึ ่ ง มี ค วามเสี ่ ย ง
ต่ อ การเสี ย หายของตั ว อุ ป กรณ์ ซ ึ ่ ง เกิ ด แรงต้ า นต่ อ ระบบเบรค
การปลดล็ อ คจากระบบ ทำ า การบี บ กดด้ ว ยการเบรคเชื อ กด้ า นข้ า งและเลื ่ อ นมื อ จั บ ไปที ่
ตำ า แหน่ ง ของการโรยตั ว ลง
ข้ อ มู ล ของมาตรฐาน EN 12841
ข้ อ ควรระวั ง ตั ว I'D S จะต้ อ งใช้ ร ่ ว มกั บ อุ ป กรณ์ ต ั ว ช่ ว ยสำ า รอง type A backup (เช่ น ASAP)
บนเชื อ กเส้ น ที ่ ส อง ซึ ่ ง เรี ย กว่ า "เชื อ กเซฟ"
I'D Sไม่ ส ามารถนำ า มาใช้ เ พื ่ อ ระบบป้ อ งกั น ตกตามมาตรฐาน EN 363
ใช้ อ ุ ป กรณ์ น ี ้ เ ชื ่ อ มต่ อ กั บ สายรั ด สะโพก โดยการใช้ ร ่ ว มกั บ ตั ว คาราไบเนอร์ แ บบประตู
ล็ อ ค ที ่ ไ ด้ ม าตรฐาน EN 362 อุ ป กรณ์ อ ื ่ น ๆ ที ่ ใ ช้ ร ่ ว มกั บ ตั ว บี บ จั บ เชื อ กจะต้ อ งได้
มาตรฐานและอยู ่ ใ นระบบกฎเกณ์ เ ดี ย วกั น
เมื ่ อ คุ ณ อยู ่ ใ นสภาวะที ่ เ ชื อ กเส้ น ทำ า งานถู ก ดึ ง ตึ ง ต้ อ งแน่ ใ จว่ า เชื อ กเส้ น เซฟไม่ ไ ด้ ถ ู ก กด
ด้ ว ยน้ ำ า หนั ก
การกดลงของแรงแบบยื ด หยุ ่ น สามารถทำ า ให้ เ ชื อ กเส้ น เซฟเสี ย หายได้
9. EN 341 class A (1997)
การช่ ว ยเหลื อ และเคลื ่ อ นย้ า ย
ด้ ว ยระดั บ ความสู ง ที ่ ไ ม่ เ กิ น 200 เมตร
น้ ำ า หนั ก ของการทำ า งานตามปกติ 30-150 กก
การลงสู ่ ต ำ า แหน่ ง ที ่ ต ่ ำ า กว่ า จุ ด ผู ก ยึ ด
อุ ป กรณ์ ต ิ ด อยู ่ ก ั บ จุ ด ผู ก ยึ ด การเบรคเชื อ กด้ า นข้ า งจะต้ อ งเปลี ่ ย นทิ ศ ทางตามตั ว ล็ อ คคา
ราไบเนอร์ ค้ า งการเบรคเชื อ กด้ า นข้ า งและเลื ่ อ นมื อ จั บ ขึ ้ น ไป (ที ่ ต ำ า แหน่ ง c) เพื ่ อ ปล่ อ ย
ให้ เ ชื อ กไหล การเบรคจะถู ก ควบคุ ม ด้ ว ยการบี บ กดบนการเบรคเชื อ กด้ า นข้ า ง ปล่ อ ยมื อ
จั บ เพื ่ อ ให้ ร ะบบหยุ ด อั ต โนมั ต ิ ท ำ า งาน
เมื ่ อ อุ ป กรณ์ ถ ู ก กดถ่ ว งด้ ว ยน้ ำ า หนั ก ที ่ เ บา ถ้ า การเบรคกระทั น หั น เกิ ด ขึ ้ น ง่ า ยเกิ น ไป ให้ ใ ช้
ปุ ่ ม ช่ ว ยการเคลื ่ อ นที ่ แ นวนอน
ข้ อ มู ล ของมาตรฐาน EN 341
- ต้ อ งผู ก เงื ่ อ นที ่ ป ลายสุ ด ของเชื อ กเสมอ
- อุ ป กรณ์ ท ี ่ ถ ู ก เก็ บ จะต้ อ งได้ ร ั บ การป้ อ งกั น จากสภาพแวดล้ อ ม
- ห้ า มละเลยการควบคุ ม ขณะโรยตั ว ลง โรยตั ว ลงด้ ว ยความเร็ ว ที ่ เ หมาะสม
- คำ า เตื อ น อุ ป กรณ์ อ าจร้ อ นจั ด และทำ า ให้ เ ชื อ กเสี ย หายในขณะโรยตั ว ได้
ชุ ด กู ้ ภ ั ย
10. การคุ ม เชื อ ก 100 kg
คำ า เตื อ น ในกรณี ท ี ่ ม ี ก ารผิ ด พลาด (ใส่ เ ชื อ กถอยหลั ง ) การหยุ ด ชะงั ก จะไม่ ท ำ า งานใน
กรณี เ ช่ น นี ้
ตำ า แหน่ ง ของอุ ป กรณ์ บ นจุ ด ผู ก ยึ ด (ตำ า แหน่ ง e) ผู ้ ค วบคุ ม เชื อ กจะกำ า เชื อ กด้ า นเบรคด้ ว ย
มื อ ข้ า งเดี ย ว และเชื อ กเส้ น ที ่ ส องด้ ว ยมื อ อี ก ข้ า งหนึ ่ ง ปล่ อ ยเชื อ กให้ ไ หลตามปกติ การ
หยุ ด ยั ้ ง การตก บี บ การเบรคเชื อ กด้ า นข้ า งให้ แ น่ น การปล่ อ ยผู ้ ป ี น ลง ให้ ป รั บ อุ ป กรณ์ ใ ห้
เหมาะสมคล้ า ยกั บ การไต่ เ ชื อ กลงจากจุ ด ผู ก ยึ ด (ด้ ว ยการเบรคของคาราไบเนอร์ )
11. ข้ อ มู ล เพิ ่ ม เติ ม เกี ่ ย วกั บ มาตรฐาน ANSI
- ด้ ว ยระดั บ ความสู ง ที ่ ไ ม่ เ กิ น 200 เมตร
- ข้ อ แนะนำ า การใช้ ง านจะต้ อ งเอื ้ อ อำ า นวยต่ อ ผู ้ ใ ช้ อ ุ ป กรณ์ น ี ้
- คู ่ ม ื อ การใช้ ง านของอุ ป กรณ์ แ ต่ ล ะชนิ ด ที ่ ใ ช้ เ ชื ่ อ มต่ อ กั บ อุ ป กรณ์ น ี ้ ต ้ อ งปฏิ บ ั ต ิ ต ามอย่ า ง
เคร่ ง ครั ด
- การตรวจเช็ ค อุ ป กรณ์ ต้ อ งทำ า ตามข้ อ แนะนำ า ของโรงงานผู ้ ผ ลิ ต ที ่ ร ะบุ ไ ว้ ใ นคู ่ ม ื อ การใช้
งานและ แบบฟอร์ ม การตรวจเช็ ค อุ ป กรณ์
- จุ ด ผู ก ยึ ด ที ่ ใ ช้ เ พื ่ อ การกู ้ ภ ั ย จะต้ อ งมี ค วามแข็ ง แรงเพี ย งพอที ่ จ ะรองรั บ น้ ำ า หนั ก ที ่ ต รึ ง กั บ
ที ่ ไ ด้ ไ ม่ น ้ อ ยกว่ า 13.8 kN หรื อ 5 เท่ า ของน้ ำ า หนั ก ที ่ ก ดลงในระบบ
- ในการกู ้ ภ ั ย จุ ด ผู ก ยึ ด เพื ่ อ ยั บ ยั ้ ง การตก จะต้ อ งตรงตามข้ อ กำ า หนดมาตรฐาน ANSI
Z359.1
- การเชื ่ อ มต่ อ กั บ จุ ด ผู ก ยึ ด จะต้ อ งกระทำ า ด้ ว ยวิ ธ ี ท ี ่ ไ ม่ เ สี ่ ย งต่ อ การเกิ ด อุ บ ั ต ิ เ หตุ ร ะหว่ า ง
การเคลื ่ อ นย้ า ยในระบบขณะทำ า การกู ้ ภ ั ย ทำ า การทดสอบแรงดึ ง ที ่ ร ะบบเชื ่ อ มต่ อ ก่ อ นนำ า
ไปรองรั บ น้ ำ า หนั ก จริ ง
- สภาพแวดล้ อ มของการกู ้ ภ ั ย อ้ า งอิ ง ตาม ANSI Z359.4 และ Z359.1
- การวางแผนการช่ ว ยเหลื อ คุ ณ จะต้ อ งมี แ ผนการกู ้ ภ ั ย และรู ้ ว ิ ธ ี ก ารทำ า ได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ใน
กรณี ท ี ่ ป ระสบความยุ ่ ง ยากขึ ้ น ในขณะที ่ ใ ช้ อ ุ ป กรณ์ น ี ้
- ข้ อ ควรระวั ง เมื ่ อ ใช้ อ ุ ป กรณ์ ห ลายชนิ ด ร่ ว มกั น อาจเกิ ด ผลร้ า ยต่ อ ความปลอดภั ย ใน
กรณี ท ี ่ อ ุ ป กรณ์ ช นิ ด หนึ ่ ง ถู ก ลดประสิ ท ธิ ภ าพลงด้ ว ยส่ ว นประกอบเพื ่ อ ความปลอดภั ย
ของอุ ป กรณ์ ช นิ ด อื ่ น
- คอยเฝ้ า ระมั ด ระวั ง เมื ่ อ ทำ า งานอยู ่ ใ กล้ ก ั บ แหล่ ง กำ า เนิ ด ไฟฟ้ า เครื ่ อ งจั ก รที ่ ก ำ า ลั ง ทำ า งาน
บนพื ้ น ผิ ว ที ่ ม ี ค วามแหลมคม หรื อ ในสภาพที ่ ม ี ส ารเคมี ป ะปน หรื อ ความรุ น แรงของ
สภาพภู ม ิ อ ากาศ
- กำ า ลั ง ของการเคลื ่ อ นที ่ ล ง เท่ า กั บ ผลของระยะทาง น้ ำ า หนั ก ของตั ว คน และการเพิ ่ ม
ความเร็ ว ตามแรงดึ ง ดู ด ของโลก
12. ข้ อ มู ล เพิ ่ ม เติ ม
- คุ ณ จะต้ อ งมี แ ผนการกู ้ ภ ั ย และรู ้ ว ิ ธ ี ก ารทำ า ได้ อ ย่ า งรวดเร็ ว ในกรณี ท ี ่ ป ระสบความยุ ่ ง ยาก
ขึ ้ น ในขณะที ่ ใ ช้ อ ุ ป กรณ์ น ี ้
- จุ ด ผู ก ยึ ด ในระบบ จะต้ อ งอยู ่ เ หนื อ ตำ า แหน่ ง ของผู ้ ใ ช้ ง าน และทำ า ตามข้ อ กำ า หนดของ
มาตรฐาน EN 795 (ความแข็ ง แรงต้ อ งไม่ น ้ อ ยกว่ า 12 kN)
- ในระบบยั บ ยั ้ ง การตกเป็ น สิ ่ ง สำ า คั ญ ที ่ จ ะต้ อ งตรวจเช็ ค พื ้ น ที ่ ว ่ า งด้ า นใต้ ข องผู ้ ใ ช้ ง าน
ก่ อ นการใช้ ง านทุ ก ครั ้ ง เพื ่ อ หลี ก เลี ่ ย งการหล่ น ไปกระแทกกั บ พื ้ น หรื อ สิ ่ ง กี ด ขวางใน
กรณี ท ี ่ ม ี ก ารตกเกิ ด ขึ ้ น
- ต้ อ งแน่ ใ จว่ า จุ ด ผู ก ยึ ด อยู ่ ใ นตำ า แหน่ ง ที ่ ถ ู ก ต้ อ งเพื ่ อ ลดความเสี ่ ย ง และระยะทางของ
การตก
- สายรั ด นิ ร ภั ย เป็ น เพี ย งอุ ป กรณ์ ท ี ่ ช ่ ว ยพยุ ง ร่ า งกาย ในระบบยั บ ยั ้ ง การตกเท่ า นั ้ น
- เมื ่ อ ใช้ อ ุ ป กรณ์ ห ลายชนิ ด ร่ ว มกั น อาจเกิ ด ผลร้ า ยต่ อ ความปลอดภั ย ในกรณี ท ี ่ อ ุ ป กรณ์
ชนิ ด หนึ ่ ง ถู ก ลดประสิ ท ธิ ภ าพลงด้ ว ยส่ ว นประกอบเพื ่ อ ความปลอดภั ย ของอุ ป กรณ์
ชนิ ด อื ่ น
- คำ า เตื อ น อั น ตราย ดู แ ลอุ ป กรณ์ โ ดยหลี ก เลี ่ ย งการถู ก สั ม ผั ส กั บ สารกั ด กร่ อ น หรื อ วั ต ถุ
ที ่ ม ี พ ื ้ น ผิ ว แหลมคม
- ผู ้ ใ ช้ ง านต้ อ งมี ส ภาพร่ า งกายแข็ ง แรง เหมาะกั บ กิ จ กรรมในที ่ ส ู ง คำ า เตื อ น การห้ อ ย
ตั ว อยู ่ ใ นสายรั ด สะโพกเป็ น เวลานานอาจมี ผ ลทำ า ให้ เ กิ ด การบาดเจ็ บ สาหั ส หรื อ อาจ
ถึ ง แก่ ช ี ว ิ ต
- คู ่ ม ื อ การใช้ ง านของอุ ป กรณ์ แ ต่ ล ะชนิ ด ที ่ ใ ช้ เ ชื ่ อ มต่ อ กั บ อุ ป กรณ์ น ี ้ ต ้ อ งปฏิ บ ั ต ิ ต ามอย่ า ง
เคร่ ง ครั ด
- ถ้ า อุ ป กรณ์ ถู ก ส่ ง ไปจำ า หน่ า ยยั ง นอกอาณาเขตของประเทศผู ้ เ ป็ น แหล่ ง ผลิ ต ตั ว แทน
จำ า หน่ า ยจะต้ อ งจั ด ทำ า คู ่ ม ื อ การใช้ ง านในภาษาท้ อ งถิ ่ น ของประเทศที ่ อ ุ ป กรณ์ น ี ้ ถ ู ก นำ า
ไปใช้ ง าน
- แน่ ใ จว่ า ป้ า ยเครื ่ อ งหมายที ่ ต ิ ด บนอุ ป กรณ์ ส ามารถอ่ า นได้ ช ั ด เจน
ควรยกเลิ ก การใช้ อ ุ ป กรณ์ เ มื ่ อ ไร
ข้ อ ควรระวั ง ในกิ จ กรรมที ่ ม ี ก ารใช้ อ ย่ า งรุ น แรงอาจทำ า ให้ อ ุ ป กรณ์ ต ้ อ งถู ก เลิ ก ใช้ แ ม้ ห ลั ง
จากการใช้ ง านเพี ย งครั ้ ง เดี ย วทั ้ ง นี ้ ขึ ้ น อยู ่ ก ั บ ชนิ ด ของการใช้ ง านและสภาพแวดล้ อ ม
(สภาพที ่ แ ข็ ง หยาบ สถานที ่ ใ กล้ ท ะเลสิ ่ ง ของมี ค ม สภาพอากาศที ่ ร ุ น แรง สารเคมี )
อุ ป กรณ์ จ ะต้ อ งเลิ ก ใช้ เมื ่ อ
- ได้ เ คยมี ก ารตกกระชากอย่ า งรุ น แรง (หรื อ เกิ น ขี ด จำ า กั ด )
- เมื ่ อ ไม่ ผ ่ า นการตรวจเช็ ค สภาพ เมื ่ อ มี ข ้ อ สงสั ย หรื อ ไม่ แ น่ ใ จ
- เมื ่ อ ไม่ ท ราบถึ ง ประวั ต ิ ก ารใช้ ง านมาก่ อ น
- เมื ่ อ ตกรุ ่ น ล้ า สมั ย จากการเปลี ่ ย นกฏเกณฑ์ ม าตรฐานเทคนิ ค หรื อ ความเข้ า กั น ไม่ ไ ด้
กั บ อุ ป กรณ์ อ ื ่ น
ทำ า ลายอุ ป กรณ์ เ พื ่ อ หลี ก เลี ่ ย งการนำ า กลั บ มาใช้ อ ี ก
สั ญ ลั ก ษณ์
A. ไม่ จ ำ า กั ด อายุ ก ารใช้ ง าน - B. สภาพภู ม ิ อ ากาศ ที ่ ส ามารถใช้ ง านได้ - C. ข้ อ ควรระวั ง
การใช้ ง าน - D. การทำ า ความสะอาด - E. ทำ า ให้ แ ห้ ง - F. การเก็ บ รั ก ษา/การขนส่ ง - G.
การบำ า รุ ง รั ก ษา - H. การดั ด แปลงเพิ ่ ม เติ ม /การซ่ อ มแซม (ไม่ อ นุ ญ าตให้ ท ำ า ภายนอก
โรงงานของ Petzl ยกเว้ น ส่ ว นที ่ ส ามารถใช้ ท ดแทนได้ ) - I. คำ า ถาม/ติ ด ต่ อ
อุ ป กรณ์ ม ี ก ารรั บ ประกั น เป็ น เวลา 3 ปี
เกี ่ ย วกั บ วั ต ถุ ด ิ บ หรื อ ความบกพร่ อ งจากการผลิ ต ข้ อ ยกเว้ น จากการรั บ ประกั น การชำ า รุ ด
บกพร่ อ งจากการใช้ ง านตามปกติ ปฏิ ก ิ ร ิ ย าจากสารเคมี การแก้ ไ ขดั ด แปลง การเก็ บ รั ก ษา
ไม่ ถ ู ก วิ ธ ี ความเสี ย หายจากอุ บ ั ต ิ เ หตุ ความประมาทเลิ น เล่ อ การนำ า ไปใช้ ง านที ่ น อกเหนื อ
จากที ่ อ ุ ป กรณ์ ไ ด้ ถ ู ก ออกแบบไว้
เครื ่ อ งหมายคำ า เตื อ น
1. สถานการณ์ เ สี ่ ย งที ่ อ าจจะเกิ ด อั น ตรายบาดเจ็ บ สาหั ส หรื อ เสี ย ชี ว ิ ต 2. มี ค วามเสี ่ ย ง
ในการเกิ ด อุ บ ั ต ิ เ หตุ หรื อ การบาดเจ็ บ 3. ข้ อ มู ล สำ า คั ญ ที ่ เ กี ่ ย วกั บ ระบบการทำ า งาน หรื อ
คุ ณ สมบั ต ิ ข องอุ ป กรณ์ 4. ความเข้ า กั น ไม่ ไ ด้ ข องอุ ป กรณ์
เครื ่ อ งหมายและข้ อ มู ล
a. หั ว ข้ อ สำ า คั ญ ของการควบคุ ม การผลิ ต ของอุ ป กรณ์ PPEนี ้ - b. ชื ่ อ เฉพาะที ่ บ อกถึ ง
การทดลองผ่ า นมาตรฐาน CE - c. การสื บ มาตรฐาน ข้ อ มู ล แหล่ ง กำ า เนิ ด = หมายเลข
ลำ า ดั บ - d. ขนาด - e. หมายเลขลำ า ดั บ - f. ปี ท ี ่ ผ ลิ ต - g. เดื อ นที ่ ผ ลิ ต - h. หมายเลขลำ า ดั บ
การผลิ ต - i. หมายเลขกำ า กั บ ตั ว อุ ป กรณ์ - j. มาตรฐาน - k. อ่ า นคู ่ ม ื อ การใช้ โ ดยละเอี ย ด
- l. ข้ อ มู ล ระบุ ร ุ ่ น
D0000900A (010616)
24

Hide quick links:

Publicidad

Tabla de contenido
loading

Este manual también es adecuado para:

I-d 20s

Tabla de contenido